จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์

คำถามที่พบบ่อย

คำตอบ :

ไม่ได้

คำตอบ :

แบบฟอร์ม Submission มี 5 แบบ หลักเกณฑ์ในการเลือกขอให้นักวิจัยเข้าไปดูใน SOP บทที่ 4 หรือ แบบฟอร์ม จาก Website

คำตอบ :

1. เกณฑ์ในการพิจารณาโครงการวิจัยที่เข้าข่ายยกเว้นการพิจารณารับรองทางด้านจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ (Exempt) ใน SOP บทที่ 4 หรือ แบบฟอร์ม AO-012 จาก Website

2.เกณฑ์ในการพิจารณาโครงการวิจัยที่เข้าข่ายการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์แบบเร็ว (Expedited) ใน SOP บทที่ 4 หรือ แบบฟอร์ม AO-013 จาก website

คำตอบ :

ได้ จากสถาบันไหนก็ได้ แต้ต้องเป็นการอบรม onsite หากเป็นการทำแบบทดสอบทาง online ขอให้ปฏิบัติตามประกาศการแนบหลักฐานการอบรมจริยธรรมการวิจัย ที่ผ่านการอบรมออนไลน์

คำตอบ :

ผู้วิจัยต้องอบรมใหม่ เนื่องจากคณะกรรมการจริยธรรมฯ มีมติเห็นชอบให้ผู้วิจัยสามารถยื่นหลักฐานที่ผ่านการอบรมที่มีอายุไม่น้อยกว่า 1 ปี นับจากวันที่ยื่น

คำตอบ :

โครงการจากหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย

  1. โครงการนักศึกษาหรือบัณฑิตศึกษา (ยกเว้นโครงการที่ได้รับทุนวิจัยจากภายนอกและทุนภายใต้โครงการของอาจารย์ที่ปรึกษา) 1,500 บาท
  2. ประโยชน์ต่อสาธารณะ 2,000 บาท
  3. ประโยชน์เชิงพาณิชย์ 5,000 บาท

 

โครงการจากหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย

  1. ประโยชน์ต่อสาธารณะ 3,000 บาท
  2. ประโยชน์เชิงพาณิชย์ 10,000 บาท


สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม ผู้วิจัยสามารถเข้าไปอ่านได้จากแบบฟอร์ม AO-027 ที่หน้า Website

คำตอบ :

ขั้นตอนการบริการ รายละเอียดอยู่หน้า Website ส่วนระยะเวลาโดยประมาณของแต่ละประเภท

  • Exempt ออกหนังสือรับรองภายใน 14 วัน
  • Expedited ได้ผลการพิจารณากลับภายใน 1 เดือนครึ่ง
  • Full board ได้ผลการพิจารณากลับภายใน 2 เดือน (กรณีที่ยื่นขอรับพิจารณาก่อนกำหนดการประชุม 1 เดือน)


หมายเหตุ: กรณีที่ไม่มีการแก้ไขใด ๆ

คำตอบ :

ไม่ต้องรอเข้าที่ประชุม

คำตอบ :

ผู้วิจัยต้องยื่นก่อน ประมาณ 1 เดือน ก่อนวันเข้าที่ประชุม เนื่องจากต้องใช้เวลาในการส่งให้กรรมการ ผู้ทบทวนเพื่อพิจารณาโครงการก่อน

คำตอบ :

ชำระค่าธรรมเนียมพร้อมกับการยื่นขอรับพิจารณาฯ

คำตอบ :

ผู้วิจัยต้องส่งรายงานสรุปผลการวิจัย ทุกประเภทโครงการวิจัย

คำตอบ :

ไม่ได้ ผู้วิจัยต้องใช้เอกสารที่ได้รับการรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมฯ เท่านั้น

คำตอบ :

ผู้วิจัยสามารถยื่นแบบฟอร์ม AP-007 พร้อมแนบเอกสารหลักฐานที่ผ่านการอบรมของนักวิจัยหลักและนักวิจัยร่วม (ฉบับที่ยังไม่หมดอายุ ที่มีอายุไม่น้อยกว่า 1 ปี นับจากวันที่ยื่น) และเอกสารอื่นประกอบตามแบบฟอร์ม

คำตอบ :

ได้ โดยผู้วิจัยสามารถยื่นแบบฟอร์ม AP-008 และเอกสารอื่นประกอบตามแบบฟอร์ม

คำตอบ :

  1. การแก้ไขระบบบริหารจัดการ เช่น ชื่อผู้ประสานงานโครงการวิจัย
  2. การแก้ไขเพียงเล็กน้อยของเอกสารแสดงเจตนาขอความยินยอม
  3. การแก้ไขเพียงเล็กน้อย ของการคัดเลือกอาสาสมัคร/ ข้อความประชาสัมพันธ์เชิญชวนอาสาสมัครเข้าสู่โครงการวิจัย
  4. การแก้ไขเพียงเล็กน้อยของเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา เช่น แบบสำรวจ แบบสอบถาม เอกสารประชาสัมพันธ์
  5. เอกสารใหม่ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาที่พบภายหลังการรับรอง
  6. การเปลี่ยนแปลงค่าตอบแทนหรือค่าชดเชยอาสาสมัคร หรือจำนวนอาสาสมัครที่ได้รับค่าตอบแทน ที่ไม่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมการศึกษาของอาสาสมัคร
  7. การลดจำนวนตัวอย่าง หรือปริมาณการเก็บตัวอย่าง ถ้าไม่มีผลกระทบด้านลบเกี่ยวกับการประเมินคุณประโยชน์และความเสี่ยง
  8. การปรับเปลี่ยนประโยคข้อความในเอกสารเพื่อให้มีความชัดเจน แต่ไม่ทำให้ความหมายเปลี่ยนแปลง
  9. การเพิ่มหรือเปลี่ยนแปลงเจ้าหน้าที่ในโครงการ
  10. การเพิ่มสถานที่วิจัยของโครงการพหุสถาบัน
  11. รายงานส่วนแก้ไขเพิ่มเติมได้รับการทบทวนมาแล้วจากคณะกรรมการจริยธรรมฯ

คำตอบ :

ไม่ใช่ เกณฑ์การคัดออก คือเกณฑ์ที่ใช้กับอาสาสมัครที่เข้ามาสู่โครงการแล้วต้องการคัดออก

คำตอบ :

  1. การทดสอบยา ถ้าหากพบว่าอาสาสมัครมีค่าตับเกินค่าปกติ 5 เท่า จำนวนมากกว่า 20% จะยุติโครงการ (โดยร้อยละต้องพิจารณาจากการทบทวนวรรณกรรม)
  2. กรณีแหล่งทุนยุติโครงการไม่สนับสนุนงบประมาณต่อ
  3. กรณีที่พบว่าข้อมูลที่เก็บเพิ่มเติมแล้ว ยังไม่เห็นผล เช่น เก็บ 80 แล้วผลยังเหมือนเดิม
  4. กรณีไม่สามารถเก็บข้อมูลได้
  5. กรณีได้ข้อมูลครบถ้วนก่อนเวลาที่กำหนด
    ทั้งนี้ เมื่อต้องการยุติโครงการ ผู้วิจัยจะต้องแจ้งให้คณะกรรมการจริยธรรมฯ ทราบด้วย (แบบฟอร์ม AP-013)

คำตอบ :

การเสนอทางเลือกอื่นในกรณีอาสาสมัครไม่ประสงค์เข้าร่วมในโครงการวิจัย ทำในขั้นตอนการขอความยินยอมจากอาสาสมัคร และอาสาสมัครไม่ประสงค์เข้าร่วมตามกระบวนการวิจัย แต่มีความประสงค์อื่นๆ เช่น ต้องการให้ข้อมูล ต้องการได้ความรู้ที่เป็นประโยชน์ไปศึกษาและปรับใช้กับตนเอง หรือต้องการรับทราบผลการวิจัย

การกำหนดทางเลือกอื่นในกรณีอาสาสมัครไม่ประสงค์เข้าร่วมในโครงการวิจัยไว้ล่วงหน้า เพื่อช่วยให้ผู้วิจัยสามารถเสนอทางเลือกให้กับอาสาสมัครที่มีความประสงค์ดังกล่าวได้อย่างเหมาะสม และเตรียมการไว้ล่วงหน้าได้ ในกรณีที่มีกรณีดังกล่าวเกิดขึ้นได้
ตัวอย่าง การกำหนดทางเลือกอื่นในกรณีอาสาสมัครไม่ประสงค์เข้าร่วมในโครงการวิจัย ได้แก่

  1. แนะนำแหล่งข้อมูลที่เป็นประโยชน์
  2. แนะนำหน่วยงานที่สามารถช่วยเหลือหรือให้คำแนะนำ
  3. มอบเอกสารวิชาการที่เกี่ยวข้องให้
  4. แนะนำวิธีการสืบค้นผลงานตีพิมพ์หรือเผยแพร่เมื่องานวิจัยเสร็จสิ้น

เรามีการใช้คุกกี้ที่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง หรือเพื่อการทำงานของเว็บไซต์ และเครื่องมืออื่นๆ เพื่อช่วยเพิ่มประสบการณ์และเพื่อประสิทธิภาพในการใช้งาน คุณสามารถศึกษารายละเอียด นโยบายแนวปฎิบัติการใช้คุกกี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ที่ Cookies Policy