ข่าวล่าสุด

สำนักวิจัยฯ ม.อ. จัดอบรมมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการทางเคมี เสริมความรู้ให้บุคลากรทางวิจัย พร้อมรับรองประกาศนียบัตรเพื่อยื่นขอทุนวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพ
สำนักวิจัยและพัฒนา ม.อ. จัดอบรมมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการทางเคมี วันที่ 30 ตุลาคม 2567 ณ อาคารศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ม.อ. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการความปลอดภัยทางชีวภาพ เสริมความรู้และทักษะการปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการตามมาตรฐานความปลอดภัยทางชีวภาพ
สำนักวิจัยและพัฒนา ม.อ. จัดอบรมมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการทางเคมี วันที่ 30 ตุลาคม 2567 ณ อาคารศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
โครงการงานร่วมศาสตร์ สร้างวิจัย และนวัตกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 7 – 9 พฤศจิกายน 2567 ณ จ.สตูล
“บพข. พบ ประชาคมวิจัย” โดยมีกำหนดการจัด 2 ครั้ง คือ วันที่ 2 กันยายน 2567 และวันที่ 6 กันยายน 2567
กิจกรรมครั้งนี้จัดขึ้นเพื่อเน้นสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับนักวิจัยในพื้นที่ ทั้งเรื่องของบทบาทหน้าที่ เป้าหมายที่ทางองค์กรต้องการ
การอบรมสร้างความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้อง ตามมาตรฐานทางจริยธรรมและวิทยาศาสตร์ในการดำเนินการศึกษาวิจัยโดยการทดลองในมนุษย์
รศ.ดร.ศุภศิลป์ มณีรัตน์ ผู้อำนวยการสำนักวิจัยและพัฒนา เป็นผู้แทนมหาวิทยาลัยฯ ลงนามความร่วมมือการตรวจประเมินและรับรองห้องปฏิบัติการ
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การใช้ระบบ SciVal เพื่อขับเคลื่อนงานวิจัย ม.อ.” สร้างความเข้าใจในการใช้งานระบบ และนำไปใช้ประโยชน์จากระบบได้อย่างถูกต้อง
โครงการอบรมจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ 29 - 30 สิงหาคม 2567 ณ ห้องบุปผาแกรนด์บอลรูม ชั้น 5 โรงแรมสยามออเรียลทัล อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
อบรมจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์เ พื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจในหลักการและจริยธรรมในการทำวิจัยในมนุษย์ เพื่อให้นำไปปรับใช้ในการทำวิจัยอย่างถูกต้อง
เลือกวารสารที่ใช่ ช่วยคุณไขข้อข้องใจ! เรียนรู้เทคนิคการเลือกวารสารที่เหมาะสมกับบทความวิจัยของคุณ เพิ่มโอกาสในการตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงาน
“เลือกวารสารที่ใช่ ให้บทความวิจัย ที่ท่านรัก” ในวันพฤหัสบดีที่ 25 กรกฎาคม 2567 เวลา 08.30 -12.00 น. ผ่านระบบ Zoom Meeting
สำนักวิจัยและพัฒนา จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ “ระบบประเมินประเภทงานวิจัยและระดับความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ (PSU Biosafety Submission)” โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.รวี เถียรไพศาล ประธานคณะกรรมการ
ขอเชิญบุคลากร ม.อ. เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การใช้ระบบ SciVal เพื่อขับเคลื่อนงานวิจัย ม.อ.” เพื่อสร้างความเข้าใจในการใช้งานระบบ
สำนักงานคณะกรรมการจริยธรรมวิจัยในมนุษย์ ม.อ. ผ่านการตรวจประเมินคุณภาพของระบบการจัดการคณะกรรมการจริยธรรมฯ โดย FERCAP และ NECAST
จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ม.อ. ประกาศหลักเกณฑ์การเก็บค่าธรรมเนียมการยื่นพิจารณาจริยธรรมในมนุษย์ รายละเอียดเพิ่มเติมที่ 0-7428-6955
อบรมเชิงปฏิบัติการ “ระบบประเมินประเภทงานวิจัยและระดับความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ (PSU Biosafety)” 20 มิถุนายน 2567 | 9.00 - 12.00 น. | Zoom
ขอแสดงความยินดีห้องปฏิบัติการ ม.อ. ได้รับการรับรองมาตรฐานในรูปแบบ peer evaluation ซึ่งมีห้องปฏิบัติการที่ผ่านการรับรองในระยะที่ 1 และระยะที่ 2 จำนวน 12 ห้อง
ม.อ. จัดเสวนา "สอนหนัก วิจัยปัง ทำได้จริง" เผยเคล็ดลับบริหารเวลา สอน-วิจัย-ชีวิต แลกเปลี่ยนประสบการณ์จากนักวิจัยชั้นนำ ม.อ. และ ม.กรุงเทพ
“สอนหนัก วิจัยปัง ทำได้จริง” ในวันที่ 25 เมษายน 2567 เวลา 08.30-12.00 น. ณ ห้อง EILA 5 ชั้น 8 อาคารศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ (LRC1)
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภายใต้ สำนักวิจัยและพัฒนา ในโอกาสที่ผ่านการพิจารณาเป็นคณะกรรมการโครงการวิจัยทางคลินิกเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาให้การยอมรับ ประจำปี พ.ศ. 2567
เรียนรู้เทคนิคการ "สอนหนัก วิจัยปัง ทำได้จริง" กับผู้เชี่ยวชาญ ผศ.ดร.พิพัฒพงศ์ ฟักแฟ ม.กรุงเทพและ รศ.ดร.วิษณุพงษ์ โพธิพิรุฬห์ ม.อ.
การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาสำหรับผลงานสร้างสรรค์ทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 21 มีนาคม 2567 เวลา 08.30-12.00 น. ผ่านระบบ Zoom Meeting
สำนักวิจัยและพัฒนา ม.อ. ร่วมกับ บพข จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนานักวิจัยและข้อเสนอโครงการวิจัยในการส่งเพื่อขอรับทุน จาก บพข.
PMUC Roadshow แนะนำและสร้างความเข้าใจในกระบวนการขอทุนสนับสนุนงานวิจัยจากหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
ประกาศรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนานักวิจัยและข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับทุนจาก บพข.
ได้รับเกียรติจากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ คุณพชร ยงจิระนนท์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการพูดและ Presentation จากบริษัท สปีคโปร เทรนนิ่ง จำกัด
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าร่วมกิจกรรม “เทคนิคการนำเสนองานที่ดีและการเสริมสร้างบุคลิกภาพ” 13-14 กุมภาพันธ์ 2567
ปัจจุบันแหล่งทุนให้ความสำคัญกับการวิเคราะห์และประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนในโครงการวิจัยมากขึ้น เพราะช่วยให้มองเห็นมูลค่าของโครงการวิจัยนั้นๆ ได้ชัดเจนและเป็นรูปธรรมมากขึ้น
สำนักวิจัย ม.อ. จัดกิจกรรมอบรมหัวข้อ “การปฏิบัติการทางคลินิกที่ดี Good Clinical Practice (GCP) ” โดยมี ผศ.ดร.สมชาย ศรีวิริยะจันทร์ คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นประธานเปิดกิจกรรม
สำนักวิจัยและพัฒนา ม.อ. ร่วมกับหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) ขอเชิญนักวิจัยเข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนานักวิจัยและข้อเสนอโครงการวิจัยในการส่งเพื่อขอรับทุนจากหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.)
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าร่วมอบรมโครงการ "เทคนิคการวิเคราะห์และประเมินผลตอบแทนทางสังคม (Social Return on Investment : SROI) จากการลงทุนในโครงการวิจัย"
ตามที่ท่านได้สมัครเข้าร่วมโครงการอบรม เรื่อง การปฏิบัติการทางคลินิกที่ดี Good Clinical Practice (GCP)วันที่ 17-18 มกราคม 2567 ณ ห้องบุปผาแกรนด์ฮอลล์ ชั้น 5 โรงแรมสยามออเรียลทัล อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา มาแล้วนั้นในการนี้จึงขอประกาศผู้มีสิทธิ์เข้าร่วมอบรม
สำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ขอเชิญผู้สนใจเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ “เทคนิคการนำเสนองานที่ดีและการเสริมสร้างบุคลิกภาพ” โดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ คุณพชร ยงจิระนนท์
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ม.อ. กำหนดจัดโครงการอบรม “การปฏิบัติการทางคลินิกที่ดี Good Clinical Practice (GCP)” เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ตามหลักมาตรฐานสากลด้านจริยธรรมและวิชาการ
ฝ่ายบูรณภาพการวิจัย lสำนักวิจัย ม.อ. จัดกิจกรรมอบรมหัวข้อ "Tip & Trick การใช้ ChatGPT ช่วยทำงานวิจัยได้อย่างไรและไม่ผิดหลักจริยธรรมการวิจัย" โดยได้รับเกียรติจากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ รองศาสตราจารย์ ดร.วิโรจน์ อรุณมานะกุล ผู้อำนวยการสถาบันภาษาไทยสิรินธร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาบรรยายและให้ความรู้แก่นักวิจัย ผ่านระบบ Zoom และถ่ายทอดสดผ่าน Fanpage ของสำนักวิจัยและพัฒนา
ม.อ. จัดประชุมเครือข่ายภูมิภาคด้านมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการปี พ.ศ. 2566 ภายใต้หัวข้อ “ผู้นำองค์กรกับการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยห้องปฏิบัติงานอย่างยั่งยืน
สำนักวิจัยและพัฒนา ม.อ. ขอเชิญอาจารย์และนักวิจัยเข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “เทคนิคการวิเคราะห์และประเมินผลตอบแทนทางสังคม (Social Return on Investment: SROI) จากการลงทุนในโครงการวิจัย” ในวันที่ 24 - 25 มกราคม 2567 เวลา 08.30-16.30 น.
ตามที่สำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้เปิดรับสมัครเข้าร่วม “โครงการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพนักวิจัยในการขอรับการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยด้านสังคมศาสตร์ และพฤติกรรมศาสตร์ บัดนี้การการรับสมัครได้สิ้นสุดลงแล้วจึงขอประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้าร่วม
สำนักวิจัยและพัฒนา ม.อ. โดยฝ่ายบูรณภาพงานวิจัย ขอเชิญผู้สนใจทุกท่านเข้าร่วมกิจกรรมบรรยาย เรื่อง Tip & Trick : การใช้ “ChatGPT ช่วยทำงานวิจัยได้อย่างไร...?”
การจัดการความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการกับการ ซึ่งจะมีผลต่อการได้รับการจัดสรรทุนวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
โครงการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพนักวิจัยในการขอรับการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยด้านสังคมศาสตร์ และพฤติกรรมศาสตร์
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้าอบรมมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและยกระดับความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ
สำนักวิจัยและพัฒนา ให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจาก สถาบันวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยทักษิณ โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธิติมา ณ สงขลา ประธานคณะกรรมการจริยธรรมในคน มหาวิทยาลัยทักษิณ นำทีมคณะกรรมการฯ พูดคุยและเยี่ยมชมสำนักงานคณะกรรมการจริยธรรมวิจัยในมนุษย์ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ขอเชิญอาจารย์ นักวิจัยและผู้สนใจในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เข้าร่วมอบรมในหัวข้อ “มาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ” มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในแนวทางการจัดการความปลอดภัยของหองปฏิบัติการเพื่อให้ได้มาตรฐาน

เรามีการใช้คุกกี้ที่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง หรือเพื่อการทำงานของเว็บไซต์ และเครื่องมืออื่นๆ เพื่อช่วยเพิ่มประสบการณ์และเพื่อประสิทธิภาพในการใช้งาน คุณสามารถศึกษารายละเอียด นโยบายแนวปฎิบัติการใช้คุกกี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ที่ Cookies Policy